เป้ามายความเข้าใจUnderstanding Goals :

เข้าใจและเห็นความสำคัญของการรวมกลุ่มประเทศอาเซียน เคารพและยอมรับในความแตกต่างทางประเพณี และอยู่ร่วมกันได้อย่างศานติ

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main












การเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL( Problem Based Learning )
หน่วย  อาเซียนโลกหนึ่งเดียวกันระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter4 ปีการศึกษา 2559

คำถามหลัก :    
1. ทำไมต้องมีการร่วมกลุ่มของประชาคมอาเซียน
2. เราจะอยู่ร่วมกันภายใต้ความหลากหลายได้อย่างไร

ในยุคโลกาภิวัฒน์ที่สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ความสำคัญกับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ ขณะที่ปัญหาหลายอย่างซึ่งเคยเป็นปัญหาในประเทศกลับขยายวงกว้างขึ้นเป็นปัญหาระหว่างประเทศ อาทิ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โรคติดต่อ อาชญากรรมข้ามชาติ หรือแม้แต่ปัญหายาเสพติด ดังนั้นแต่ละประเทศจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
              หากกลับมามองในเอเชีย จีนและอินเดียทวีบทบาทในภูมิภาคมากขึ้นตามลำดับ การผนึกกำลังของอาเซียนซึ่งมีประเทศสมาชิก 10 ประเทศให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ย่อมทำให้ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและปัญหาท้าทายได้ดียิ่งขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในด้านต่างๆ และช่วยให้เสียงของอาเซียนมีน้ำหนัก เพราะการที่สมาชิกทั้ง 10 ประเทศมีท่าทีเป็นหนึ่งเดียวในเวทีระหว่างประเทศจะทำให้ประเทศและกลุ่มความร่วมมืออื่น ๆ ให้ความเชื่อถือในอาเซียนมากขึ้นและทำให้อาเซียนมีอำนาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศมากขึ้นด้วย
              ความน่าสนใจของการรวมกลุ่มในครั้งนี้ ส่งผลให้ประชาชนในประเทศแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนได้มีโอกาสเรียนรู้ ทั้งศาสตร์และศิลป์ ของการดำเนินชีวิตด้านอื่นๆของประเทศในกลุ่มอาเซียน อาทิเช่น ประเพณี วัฒนธรรม เชื้อชาติ ภาษา และเศรษฐกิจ
             ดังนั้น พี่ ป.5 และคุณครูจึงสนใจที่จะร่วมเรียนรู้และเข้าใจถึงความหลากหลายในมิติต่างๆ ของประเทศในกลุ่มอาเซียน เพื่อเคารพและยอมรับในความแตกต่างได้อย่างภารดรภาพ



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : อาเซียนโลกหนึ่งเดียวกัน  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2559 Quarter 4

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(ว 8.1/ป.5/1)
 - บันทึกสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ และโฆษณา ตามความเข้าใจของตนเองและสามารถอธิบายได้
(ว 8.1  .5/4)
สามารถตั้งคำถามจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านและได้ฟังได้
(ว 8.1ป.5/5)            
 -สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านหรือฟังได้อย่างสมเหตุ สมผล (ว 8.1 .5/6)

มาตรฐาน ส 2.1
 - มีมารยาทในการฟังและยอมรับฟังความคิดเห็นและความเชื่อที่แตกต่างในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันได้
(ส 2.1 ป.5/1)
เคารพมองเห็นคุณค่าและความ
สำคัญของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน (ส 2.1 .5/3)
มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและแสดง
ออกความคิดเห็นของตนเองได้
 (ส 2.1.5/4)
มาตรฐาน ส 5.2
  อธิบายอิทธิพลของธรรมชาติที่ทำให้วิถีชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนไปเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับตนเอง
( 5.2 ป.5/2)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจ
-กรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
มาตรฐาน ส 4.1
  อธิบายความแตกต่างของสื่อและเทคโนโลยีในอดีตกับปัจจุบันได้อย่างสมเหตุ สมผล
(ส 4.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.2
  สามารถอธิบายอิทธิพลที่มาพร้อมกับสื่อที่ส่งผลสู่ตัวเราได้
(ส 4.2 ป.5/1)

มาตรฐาน พ 1.1
- วางแผนและดูแลสุขภาพตามภาวะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง
(พ 1.1 .1/3)
- แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
(พ 1.1 .1 /4)
มาตรฐาน พ 2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้
 (2.1 .6 /1)
มาตรฐาน พ 4.1
- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
(4.1 .5/1)
- ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
(4.1 .5/2)
มาตรฐาน 1.1
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
 (ศ 1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม
 (ศ 1.1 .5/7)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป และพื้นที่ว่าง
(ศ 1.1 .6/5)

มาตรฐาน ง 1.1
 - อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องเหมาะสม
(ง 1.1 ป.5/1)
 -สามรถทำงานร่วมกับผู้อื่น พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นตลอดเวลาในการทำงานกลุ่มได้
( 1.1 .5/3)
มาตรฐาน ง 2.1
 -สามารถอธิบาย
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
(ง 2.1 .5/1)
 -สามารถเลือกรับสื่อที่มีประโยชน์และนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้ อย่างสร้างสรรค์ และเหมาะสมได้
(ง 2.1 .5/3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ความหมายความสำคัญของการรมกลุ่มอาเซียน

มาตรฐาน ว 7.2
สืบค้นและอภิปรายความหมายความ
สำคัญของอาเซียน
 (ว7.2 ป.6/1)
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนได้( 8.1 .5/1 )
เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนได้
 8.1.5/6 )
เข้าใจและสามรถนำเสนอข้อมูลเกี่ยว
กับอาเซียนได้อย่างมีเหตุผล( 8.1.5/8 )

มาตรฐาน ส 2.1
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย 
( 2.1 .5/ 3)
เข้าใจและสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม 
( 2.1 ป.6/5 )
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการทำงานกลุ่ม
( 2.1 . 1/4)
มาตรฐาน ส 3.1
- เข้าใจและสามารถบอกวิธีและประโยชน์การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน  (ส 3.1 ป.6/3 )

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจ
-กรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของอาเซียนโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
 (ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับอาเซียนอย่างมีเหตุผล (ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
 (ส 4.1 ป.5/3)     

มาตรฐาน พ2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างงานและรักษาสัมพันธภาพ
ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (พ2.1 ป.6/1)

มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี
(ศ 1.1 ป.5/3)
-สร้างงานทัศนศิลป์
เป็นแผนภาพแผนผังและภาพ
ประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
 (ศ 1.1 ป.6/7)

มาตรฐาน ง1.1
ใช้ทักษะการจัดการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5 /2)
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงา (ง 1.1 ป.5/3)
อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1  ป.6 /1 )
ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ 
(1.1  ม.1 /2 )
ตัดสินใจแก้
ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1  ม.1 /3)
มีทักษะกระบวน
การแก้ปัญหาในการทำงาน
 ( 1.1 ม.4 /4)
สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล(1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
เข้าใจและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวด
ล้อม ( 2.1.2/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียน
มาตรฐาน ว 2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ว 2.2ป.6/1)
- สามารถวิเคราะห์สภาพ   ปัญหา  
 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในระดับโลก (ว 2.2  ม.4/1)
- อภิปรายแนวทางในการป้องกัน แก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรม ชาติ (ว 2.2  ม.4/2 )
มาตรฐาน ว 6.1
-  สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซนและฝนกรด(ว 6.1 ม.1/6 )
- อธิบายผลของการเกิดภาวะโลกร้อนรูโหว่โอโซนและฝนกรดที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 
(ว 6.1 ม.1/7 )
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 ป.6/1 )
เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบข้อมูล (ว 8.1 ป.6/3 )
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1  ป.6/8 )

มาตรฐาน ส 2.1
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติตนของประเทศในแต่ละทวีปความแตกต่างของแต่ละทวีป
(ส 2.1 ม.4/1)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในทวีปเอเชียว่าเป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์หรือธรรมชาติ
 (ส5.1ม.4/4)
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏ
การณ์ทางธรรมชาติของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ส 5.1  ม.2/2 )
- ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์  ( แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ,ลูกโลก,  กราฟ ) ในการสืบค้นข้อมูล  เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้
 (ส 5.1  ป.6/1 )
- วิเคราะห์  เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ส 5.1  ม.1/3 )
มาตรฐาน ส 5.2
- วิเคราะห์ความ
สัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวด
ล้อมทางสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวัน
-ออกเฉียงใต้
 (ส 5.2  ป.6/1 )
- อธิบายการเปลี่ยน
แปลงของสภาพธรรมชาติและทางสังคมของทวีปเอเชีย (ส 5.2  ม.2 /1 )
- วิเคราะห์วิกฤติการณ์ด้านทรัพยากร ธรรม
-ชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีป
(ส 5.2  ม.4 /1 )
- มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนว
ทางอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(ส5.2 ม.4/5 )
- วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชียได้
(ส 5.2  ม.2 /4 ) 
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิด
ชอบในการตัดสิน
ใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้อง
เรียน(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่ง
พาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง
(5/ป.5/10)

-  เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของภูมิศาสตร์
โดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับภูมิศาสตร์อย่างมีเหตุผล(ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)    

มาตรฐาน พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกายจิตใจ  และสังคมของคนในแต่ละประเทศ
(พ5.1 ป.6 /1 )
- ระบุวิธีปฏิบัติตน   เพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(พ5.1  ป.6 /2 )
มาตรฐาน พ 2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้
(พ 2.1  ป.6/1)

มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกาย
ภาพของทวีปต่างๆ 
 เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)

มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1 ป.6 /1)
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ 
(ง 1.1 ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้
ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
 (ง 1.1 ม.1 /3 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1  ป.6 /3 )
-ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม(ง1.1 ม.4 /7 )
มาตรฐาน ง 2.1
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต  สังคม  สิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากร หรือเลือกใช้เทคโนโลยี ที่ไม่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1  ม.2 /4 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
 ( 3.1 ม.3 /3)
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ
( 3.1 ป.6 /5 )


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
การเมืองการปกครอง
(ประชากร การศึกษา  ศาสนา  ภาษา)

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความ
เห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างทางการเมืองการปกครองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
(ว 8.1  ป.6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวน
การและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
 (ว 8.1  ป.6/8 )

มาตรฐาน ส 2.1
วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว  ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก 
(ส 2. 1 ม.4/1 )
มาตรฐาน ส 2.2
- วิเคราะห์เปรียบ เทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆในกลุ่มประเทศอาเซียนได้
 (ส 2.2  ม.3/2)
- เสนอแนวทางการ
เมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
(ส 2.2  ม.4/2)

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบท
บาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของการปก
ครองแบบต่างๆตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการปกครองแบบต่างๆตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันอย่างมีเหตุผล 
(ส 4.1 ป.5/2)

มาตรฐาน พ 1.2
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ1.2  ป.6 /1)
มาตรฐาน พ 4.1
เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน   เพื่อจัดการกับอารมณ์และความ
เครียดที่เกิดจากปัญหาทางด้านการเมือง
(พ4.1ม.2 /6 )

มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพ
ประกอบเกี่ยวกับการปกครองในระบบต่างๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
 (ศ 1.1  ป.6/7)

มาตรฐาน ง 1.1
ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ( 1.1  ม.1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1  ม.1 /3 )
มีทักษะกระบวน
การแก้ปัญหาในการทำงาน (ง1. /ม.4 /4 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน (ง 3.1ม.3 /3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
เศรษฐกิจ  เศรษฐศาสตร์
- พลังงาน
- วิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี
- การขนส่ง
- การสื่อสาร

มาตรฐาน ว 8.1
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 
(ว 8.1  ป.6/6 )

 มาตรฐาน ส 3.1
- ระบุปัจจัยในการผลิตสินค้าและบริการของประเทศต่างๆทั่วโลก  (ส 3.1 /ม.2/2 )
- วิเคราะห์พฤติกรรมและค่านิยมของคนทั่วโลกที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ
(ส 3.1 /ม.1/2 )
- สามารถอธิบายถึงความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมโลก (ส 3.1 /ม.1/3 )

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับ
ผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง
(5/ป.5/10)

- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของการรวมกลุ่มโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการรวมกลุ่มอย่างมีเหตุผล 
(ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)  

มาตรฐาน พ 4.1
เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน เพื่อจัดการกับอารมณ์และความ
เครียดที่เกิดจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
(พ4.1  ม.2 /6 )

มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผน
ผังและภาพ
ประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของทวีปต่างๆ  เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)

มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ   
(ง 3.1  ป.6 /5 )
มาตรฐาน ง 4.1
ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( 4.1 ม.3 /3 )


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
วัฒนธรรม  ประเพณี
- ศิลปะ
- อาหาร
- ภาพยนตร์
- นาฏศิลป์
- เทศกาล
- วันสำคัญ
- กีฬา

มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนด
ให้และตามความสนใจ(ว 8.1 ป.6/1 )
แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับศาสนาและความเชื่อ
( 8.1  ป.6/6 )
นำเสนอ จัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและ
ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ( 8.1  ป.6/8 )

มาตรฐาน ส 1.1
- สามารถอธิบายการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆทั่วโลก
(ส 1.1  ม.2 /1 )
- ระบุความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก (ส 1.1  ม.3 /2 )
- วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ (ส 1.1 ม.3 /10 )
มาตรฐาน ส 1.2
- อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรม ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนำไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน (ส1.2 ม.4 /3)
สามารถเสนอแนะแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถืออันส่งผลถึงการพัฒนาตนและพัฒนาโลก (ส 1.2  ม.4 /5 )

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจ
กรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของศาสนาโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับศาสนาอย่างมีเหตุผล (ส 4.1 ป.5/2)

มาตรฐาน พ 1.1
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์ สังคม และสติ
ปัญญาของมนุษย์ในแต่ละทวีป
(พ1.1  ม.2 /2 )
มาตรฐาน พ 2.1
วิเคราะห์ค่านิยมและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศอื่นๆ
(พ2.1 ม.4 /2 )

มาตรฐาน ศ1.2
เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒน
- ธรรมไทยและสากลโดยเฉพาะด้านศาสนาและความเชื่อ 
(ศ1.2  ม.3/2)

มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1  ป.6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
 (ง 1.1 ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล 
(ง 1.1 ม.1 /3 )
- มีทักษะกระบวน
การแก้ปัญหาในการทำงาน
 (ง 1.1 ม.4 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4 /5 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ
(ง3.1 ป.6 /5 )


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
สรุปองค์ความรู้
- นำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว
- สิ่งที่ควรพัฒนา
- Mind mapping
หลังเรียน
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง
( ว 2.2 ป.6/2 )
- วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรม
ชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก(ว 2.2 ม.4/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนด ให้และตาม ความสนใจ (ว 8.1ป.6/1)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนได้ 
(ว 8.1 ป.6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดง
ผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวน
การและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ป.6/8)

มาตรฐาน ส2.1
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย 
(ส2.1 ป.5/3)
เข้าใจและแสดง ออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส2.1 ป.6/3)
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำ
วันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม 
(ส2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน (ส 3.1 ป.5/2)
- บอกวิธีและประ
โยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (ส 3.1 ป6/3)
วิเคราะห์สภาพ
แวดล้อมทางกาย
ภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค(ส 5.2 ป.5/1)
- นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวด ล้อมเพื่อใช้ในการ
เกษตรและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ ( 5.2 ป.5/3)

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบท
บาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วม
กับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

มาตรฐาน ส4.1
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของประเทศในกลุ่มอาเซียนโดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับอาเซียนอย่างมีเหตุผล 
(ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)  

มาตรฐาน พ2.1
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล
(พ2.1ป.5/3)
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วม
กับผู้อื่น มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น (2.1 ป.6/1)
มาตรฐาน พ3.1
สามารถใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แสดงท่าทางบทบาทสมมุติเพื่อสื่อสาร หรือถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (พ3.1ป.5/1)

มาตรฐาน ศ 1.1
เข้าใจและสามารถเปรียบ
เทียบความแตก
ต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้าง
สรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธี
การที่แตกต่างกัน 
(ศ1.1 ป.5/2)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นภาพประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของทวีปต่างๆ ของโลกหรือสิ่งประดิษฐ์ในอนาคต
( 1.1  ป.6/7)
เข้าใจและสามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกในการนำเสนอความคิดและข้อมูลเกี่ยวชิ้นงานที่หลาก
หลายได้ 
(1.1 ม.1/5)

มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า (ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี
(ง 2.1 ป.5/1)
- นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปใช้ประยุกต์สร้างสิ่งของเครื่องใช้ทางการเกษตร (ง 2.1 ป.5/3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง 2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(ง 3.1 ม.3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(ง 3.1 ป.6 /5 )



ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย: "อาเซียนโลกหนึ่งเดียวกัน"
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559


Week
Input
Process
Output
Outcome
1
โจทย์ : สร้างแรง /  เรื่องที่อยากเรียนรู้       
Key Questions :

ใน Quarter นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร  เพราะเหตุใดถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?      
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
Card and Chart
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- นักเรียนเล่นเกมบทบาทสมมุติสุขบนความต่าง
- นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มชาย  หญิง เล่นเกมแต่งตัวตุ๊กตา(เสื้อผ้า ธงชาติ  อาหาร  ภาษา  และสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ)
- นักเรียนร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเกม
- ครูเล่าเรื่องการเปิดประชาคมอาเซียนและทักษะ คุณลักษณะของเด็กอาเวียนในอนาคตให้นักเรียนฟัง
 - ครูและนักเรียนพูดคุยอภิปรายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเด็กอาเซียนในอนาคต
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนคิดว่าเด็กอาเซียนมีลักษณะอย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนนักเรียนเขียนวิเคราะห์เด็กอาเซียนในอนาคตของตนเองพร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ใน Quarter นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?     
- นักเรียนจะตั้งชื่อโครงงานนี้ว่าอะไร เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น?
- นักเรียนทำป้ายหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 1 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเกม
- ครูและนักเรียนพูดคุยอภิปรายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเด็กอาเซียนในอนาคต
-พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- เด็กอาเซียนในอนาคต
- ป้ายหน่วยการเรียนรู้
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์1

ความรู้:
นักเรียนเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชมได้ ทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
2
โจทย์ :  กระบวนการออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
 - นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter4 อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด :
Blackboard  Share
Mind  Mapping
Brainstorms
Wall  Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- ชุดคำถาม 108
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นักเรียนเล่นเกมแท็กชี่อาเซียน
- นักเรียนร่วมพูดคุยอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเกม

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกันเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter4 อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
 - นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนช่วยกันขมวดสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้แล้วนำมาขมวดเป็นปฏิทินการเรียนรู้
นักเรียนทุกคนระดมความคิดเพื่อทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์
นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ของตนเอง
ในรูปแบบ Mind Mapping (ก่อนการเรียนรู้)
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่2 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
ภาระงาน
- นักเรียนร่วมพูดคุยอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเกม
- นักเรียนพูดคุยสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนการเรียนรู้)
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 2


ความรู้:
สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

3
โจทย์ : 
- ตามรอยอาเซียน
- วางแผนออกแบบการเดินทาง 7 สัปดาห์ ทัวร์อาเซียน
Key Questions :
-ทำไมต้องมีการรวมกลุ่มอาเซียน?

-นักเรียนออกแบบวางแผนการเดินทาง 7 สัปดาห์ ทัวร์อาเซียนอย่างไร?
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- ชุดคำถาม 108
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ทำไมต้องมีการรวมกลุ่มอาเซียน?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมค้นหาข้อมูลพื้นฐานการร่วมกลุ่มอาเซียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะวางแผนออกแบบการเดินทาง 7 สัปดาห์ ทัวร์อาเซียนได้อย่างไรให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด?
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม จับคู่ เดี่ยว ออกแบบปฏิทินการเดินทางเที่ยว 7 สัปดาห์รอบอาเซียน
(ชุดคำถาม 108)
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอปฏิทินการเดินทางของตัวเองให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่3 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flow chart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมค้นหาข้อมูลพื้นฐานการร่วมกลุ่มอาเซียน
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอปฏิทินการเดินทางของตัวเองให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน

ชิ้นงาน
ปฏิทินการเดินทาง 7 สัปดาห์ทัวร์อาเซียน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 3


ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายที่มาและความสำคัญของการรวมกลุ่มอาเซียน  รวมทั้งสามารถวางแผนออกแบบการเดินทาง 7 สัปดาห์ ทัวร์อาเซียน
ได้อย่างเป็นขั้นตอนและเกิดการเรียนรู้มากที่สุ


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
4
โจทย์ : 
- ประวัติศาสตร์
- ภูมิศาสตร์
Key Questions :

นักเรียนคิดว่าประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ของประเทศที่ได้เดินทางผ่านเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- เรื่องเล่าประวัติศาสตร์ชาติไทยในรัชกาลที่ 9
- นิทานนานาชาติกลุ่มประเทศอาเซียน
- ชุดคำถาม 108
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ครูเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยในรัชกาลที่ 9 ให้นักเรียนฟัง
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมค้นหาข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทยในรัชกาลที่ 9 และโครงการพระราชดำริต่างๆ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงการพระราชดำริต่างๆในรูปแบบชาร์ตความรู้พร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน
- ครูนำนิทานนานาชาติของกลุ่มประเทศอาเซียนมาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านวิเคราะห์ตีความจากนิทานนานาชาติอาเซียน
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนิทานนานาชาติของกลุ่มประเทศอาเซียน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวาดภาพสื่อความหมายนิทานนานาชาติของกลุ่มประเทศอาเซียนพร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ของประเทศที่ได้เดินทางผ่านเป็นอย่างไร?”
- “นักเรียนคิดว่าแต่ละประเทศที่ตนเองศึกษา มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอย่างไร และจะนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูล
 (ชุดคำถาม 108)
ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆ
อภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่4 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย




ภาระงาน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมค้นหาข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทยในรัชกาลที่ 9 และโครงการพระราชดำริต่างๆ
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนิทานนานาชาติของกลุ่มประเทศอาเซียน
- นักเรียนร่วมพูดคุยอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ของแต่ละประเทศที่ตนเองศึกษา

ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้โครงการพระราชดำริ
- วาดภาพสื่อความหมายนิทานนานาชาติของกลุ่มประเทศอาเซียน
- ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆเช่น  ละครบทบาทสมมุติ , รายการทัวร์,Time  line, Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่4

ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์  ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของแต่ละประเทศที่น่าสนใจให้ผู้อื่นรับทราบและเข้าใจได้


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

5
โจทย์ : 
การเมืองการปกครอง
- ประชากร (การศึกษา,ศาสนาภาษา)
Key Questions :
- เหตุการณ์ในอดีต/สงครามส่งผลต่อการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศอย่างไร

- นักเรียนได้เรียนรู้อะไร นักเรียนคิดว่าอะไรคือปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการปกครองของแต่ละประเทศ
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- คลิปวีดีโอภาพสงครามเวียดนาม
- คลิปวีดีโอชาวโรฮิงญาในประเทศพม่า
- เรื่องเล่าเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายของประเทศสิงค์โปร 
- ชุดคำถาม 108
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
ครูเปิดคลิปวีดีโอภาพสงครามเวียดนามและชาวโรฮิงญาในประเทศพม่าให้นักเรียนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดดังนี้

1. คิดอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องราวที่เกิดขึ้น?
2. สาเหตุของเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นจากอะไร?
3. หากเราสามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้เราจะแก้ไขอย่างไร?
4. เหตุการณ์ในอดีต/สงครามส่งผลต่อการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศอย่างไร?
- นักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนวิเคราะห์จากคลิปวีดีโอภาพสงครามเวียดนามและชาวโรฮิงญาในประเทศพม่า
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอพร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน
- ครูเล่าเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายของประเทศสิงค์โปร 
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไร นักเรียนคิดว่าอะไรคือปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการปกครองของแต่ละประเทศ?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดนักเรียนคิดว่าการเมืองการปกครองที่ประเทศที่ตนเองศึกษามีการปกครองอย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูล
 (ชุดคำถาม 108)
- ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจ 
- อภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละคนสืบค้นและนำเสนอข้อมูล
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่5 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
ภาระงาน
- นักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนวิเคราะห์จากคลิปวีดีโอภาพสงครามเวียดนามและชาวโรฮิงญาในประเทศพม่า
- นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดคุยแลกอภิปรายแลกเปลี่ยนนำเสนอข้อมูลของประเทศของตนเองที่สืบค้นให้เพื่อนและครูได้ร่วมเรียนรู้และตั้งคำถามในประเด็นต่างๆที่สนใจ

ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอภาพสงครามเวียดนามและชาวโรฮิงญาในประเทศพม่า
- ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆเช่น  ละครบทบาทสมมุติ , รายการทัวร์,Time  line, Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 5


ความรู้:
เข้าใจและอธิบายการเมืองการปกครองที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ รวมถึงที่มาและจำนวนประชากร (การศึกษา, ศาสนา,ภาษา) และสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบที่น่าสนใจเพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

6
โจทย์ :
 เศรษฐกิจ
- พลังงาน
- วิทยาศาสตร์ / เทคโนโลยี
- การขนส่ง
- การสื่อสาร
Key Questions :
- ทำไมคนต่างด้าวของประเทศเราถึงเยอะขึ้น? 
- ค่าแรงงานต่ำส่งผลอย่างไรต่อแรงงานในประเทศและต่างประเทศ?

- ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศที่ตนเองศึกษา?
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- คลิปรายการ AEC To Go ตอน เปิดเส้นทางการค้า
- เรื่องเล่าการคว่ำบาตรทางการค้าประเทศเกาหลีเหนือ/ประเทศพม่า
- ชุดคำถาม 108
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน

ดูคลิปรายการ AEC To Go ตอน เปิดเส้นทางการค้า เชื่อมโยงอาเซียน https://youtu.be/f6nOYlUbvW0
นักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ดู
เรื่องเล่าการคว่ำบาตรทางการค้าประเทศเกาหลีเหนือ/ประเทศพม่า ให้นักเรียนฟัง
นักเรียนคิดว่าการค้าระหว่างประเทศส่งผลกระทบอย่างไรต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศที่กำลังศึกษา
ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศที่ตนเองศึกษา?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูล
(ชุดคำถาม 108)
ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจ
อภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่6 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
นักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ดู
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูล
- นักเรียนอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
ชิ้นงาน
- ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆเช่น  ละครบทบาทสมมุติ , รายการทัวร์,Time  line, Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 6


ความรู้:
- ที่มาและความสำคัญของวัฒนธรรม / เศรษฐกิจ ในแต่ละประเทศ(ที่กำลังศึกษา)
วิธีการวิเคราะห์และจัดกระทำข้อมูลที่มีอยู่อย่างมากมาย ให้สั้นกระชับ เหมาะสมต่อการเรียนรู้ที่ง่ายสำหรับผู้อื่น


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

7-8
โจทย์ : 
วัฒนธรรม
- ศิลปะ
- อาหาร
- ภาพยนตร์
- นาฏศิลป์
- เทศกาล
- ประเพณี
- วันสำคัญ
- กีฬา
- อื่นๆ ฯลฯ
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่าวัฒนธรรมของประเทศที่ตนเองศึกษามีรูปแบบลักษณะเป็นอย่างไร
- วัฒนธรรมและประเพณีเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร?
- วัฒนธรรมประเพณีและความเชื่อส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างไร?

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
สื่อและอุปกรณ์
- เรื่องเล่าปลาบึก ในลุ่มแม่น้ำโขง
- นิทานการ์ตูนสั้นของแต่ละประเทศ
- ชุดคำถาม 108
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
- จังหวัดสุรินทร์

- ครูเปิดคลิปวีดีโอเรื่องเส้นนานาชาติให้นักเรียนดูหลังจากดูจบครูตั้งคำถามกระตุ้นการคำเห็นอะไร รู้สึกอย่างไรและจะนำไปปรับใช้กับตัวเองอย่างไร?
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนคิดว่าเส้นแต่ประเทศในอาเซียนเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร?
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับความเหมือนและความแตกต่างของเส้นแต่ละประเทศในอาเซียนร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเส้นแต่ละประเทศในอาเซียน
- ครูให้โจทย์นักเรียนประกอบอาหารประจำชาติโดยครูมีขนมจีนมาให้นักเรียนประกอบอาหารในประเทศนั้นๆที่เดินทางไปเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบเมนูอาหารจากเส้นและแบ่งหน้าที่เตรียมอุปกรณ์มาประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มประกอบอาหารประจำชาติ
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนออาหารประจำชาติของกลุ่มตนเองและรับชิมอาหาร
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์อย่างไร?
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์
- ครูเล่าเรื่องความเชื่อวิถีชีวิตของคนในลุ่มแม่น้ำโขงให้นักเรียนฟัง
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
- นักเรียนได้เรียนเห็นอะไร รู้อะไรและจะนำไปปรับใช้กับตัวเองอย่างไร?
- วัฒนธรรมและประเพณีเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร?
- วัฒนธรรมประเพณีและความเชื่อส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีและความเชื่อส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการเตรียมตัวเดินทางไปเรียนรู้วิถีชีวิตที่หลากหลายของคนบนรถไฟและเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีขอมที่จังหวัดสุรินทร์
- นักเรียนตั้งคำถามก่อนออกเดินทางและบันทึกการเดินทาง
- เดินทางไปเรียนรู้วิถีชีวิตที่หลากหลายของคนบนรถไฟและเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีขอมที่จังหวัดสุรินทร์
- นักเรียนแต่ละคนถอดบทเรียนจากการเดินทางเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมประเพณีขอมที่จังหวัดสุรินทร์พร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกัน
(ชุดคำถาม 108)
-  ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจ
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่7, 8 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน

- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับความเหมือนและความแตกต่างของเส้นแต่ละประเทศในอาเซียนร่วมกัน
- นักเรียนพูดคุยสนทนาวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์

- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีและความเชื่อส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการเตรียมตัวเดินทางไปเรียนรู้วิถีชีวิตที่หลากหลายของคนบนรถไฟและเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีขอมที่จังหวัดสุรินทร์

ชิ้นงาน
- ถอดบทเรียนจากการเดินทางเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมประเพณีขอมที่จังหวัดสุรินทร์
- ออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆเช่น  ละครบทบาทสมมุติ , รายการทัวร์,Time  line, Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 7,8


ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายความหลากหลายของประเพณี วัฒนธรรม รวมถึงความเชื่อทางศาสนาของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียน


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

9
โจทย์ : 
นำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์
Key Questions :

- นักเรียนจะนำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้อย่างไร
เครื่องมือคิด       
Round robin 

Black board share 
Think pair share 
Wall thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- ชุดคำถาม 108
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะนำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้อย่างไร”?
- นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับออกแบบและซ้อมนำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและซ้อมนำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์ให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังร่วมกันในรูปแบบที่น่าสนใจเช่น  ละครบทบาทสมมุติ  รายการทัวร์รอบอาเซีย  ผ่านสื่อมัลติมีเดีย  ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละคนถอดบทเรียนเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์
(ชุดคำถาม 108)
นักเรียนแต่ละคนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่9ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับออกแบบและซ้อมนำเสนอเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์

ชิ้นงาน
- ละครบทบาทสมมุติ  รายการทัวร์รอบอาเซียน  ผ่านสื่อมัลติมีเดีย  ฯลฯ
- ถอบบทเรียนเส้นทางการทัวร์อาเซียน ตลอด 7 สัปดาห์
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 9


ความรู้:
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยอาเซียนโลกหนึ่งเดียวกัน ผ่านการจัดนิทรรศการ ละคร   การนำเสนอด้วยคำพูด ฯลฯให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้


ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
10
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
Key  Questions :
- นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
- การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?

เครื่องมือคิด
Blackboard Share 

Round Rubin
Mind Mapping
 Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู

- นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์   
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ A4
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ในหน่วยการเรียนรู้?”
- นักเรียนนำเสนอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นคำถาม ผ่านเครื่องมือ (Round Robin)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เป็นการสรุปองค์ความรู้ความเข้าใจใน Quarter4 ในรูปแบบ mind mapping
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter นักเรียนสามารถตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดจากการเรียนรู้หน่วย อาเซียนนักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
- นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสามารถและความถนัดในการถ่ายทอด/เผยแพร่องค์ความรู้ความเข้าใจ เช่น การแสดงละคร การนำเสนอด้วยคำพูด การนำเสนอด้วยภาพ เป็นต้น
- นักเรียนลงมือฝึกซ้อมในแต่ละกลุ่มตามที่ได้จัดแบ่งไว้ในข้างต้น
- ร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยน สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมและสิ่งที่ดีแล้วจากการซักซ้อมการนำเสนอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากการเรียนรู้หน่วยอาเซียนโลกหนึ่งเดียวกัน นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วยหนังสั้น  
- นักเรียนทำสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 10 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดQuarter 4
จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping


ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 10
ความรู้: 
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยอาเซียนโลกหนึ่งเดียวกัน ผ่านการจัดนิทรรศการ ละคร   การนำเสนอด้วยคำพูด ฯลฯให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้


ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT


คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น